เชิญเข้าร่วมสัมมนา เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับการเลิกจ้างในวิกฤตเศรษฐกิจปัจจุบันและแนวทางแก้ไข
เชิญเข้าร่วมสัมมนา เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับการเลิกจ้างในวิกฤตเศรษฐกิจปัจจุบันและแนวทางแก้ไข
ใครเป็นนายจ้างหรือต้องรับผิดอย่างนายจ้างบ้าง
เหตุใดที่ทำให้สัญญาจ้างสิ้นสุดลง หรือ ถือว่าเป็นการเลิกจ้างตามกฎหมาย ?
ความรับผิดของนายจ้างในทางแพ่งและอาญา เมื่อมีการเลิกจ้างในวิกฤติเศรษฐกิจเป็นอย่างไรบ้าง ?
ผู้ที่จะต้องรับผิดในทางแพ่งและอาญา มีใครบ้าง ?
ปัญหาเหล่านี้ท่านทราบคำตอบและเหตุผลที่แท้จริงหรือไม่
คดี ที่นายจ้างมีคำสั่งซื้อสินค้าลดลง จึงเลิกจ้างลูกจ้างเพื่อลดรายจ่าย มีคณะกรรมการพิจารณาก่อนเลิกจ้าง เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรมหรือไม่
นาย จ้างประสบวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ลูกจ้างยินยอมให้ลดเงินเดือนและลดวันทำงาน โดยไม่โต้แย้ง เป็นการตกลงให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างในเรื่องดังกล่าวหรือไม่
นาย จ้างสั่งปิดสำนักงานและย้ายพนักงานจากกรุงเทพมหานคร ไปประกอบธุรกิจในต่างจังหวัดซึ่งมีสถานประกอบการอยู่แล้ว เป็นการย้ายสถานประกอบกิจการตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงานมาตรา 120 หรือไม่
นายจ้างมีปัญหาด้านแรงงานกับลูกจ้าง บางครั้งขาดวัตถุดิบ จำเป็นต้องหยุดงานชั่วคราวเป็นเหตุจำเป็นถึงขนาดต้องหยุดงานได้ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองฯมาตรา 75หรือไม่
นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างเพราะได้รับผล กระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจ ทำให้ขาดทุนและมีหนี้สินเป็นจำนวนมากต้องปรับปรุงโครงสร้างองค์กรและยุบ หน่วยงานบางหน่วยเพื่อลดค่าใช้จ่ายและทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพเป็นการเลิก จ้างที่ไม่เป็นธรรม หรือไม่
การเลิกจ้างลูกจ้างซึ่งทำหน้าที่เลขานุการ ของผู้จัดการทั่วไป ซึ่งผู้จัดการคนดังกล่าวถูกย้ายไปทำงานยังต่างประเทศ เป็นกรณีที่นายจ้างปรับปรุงหน่วยงานตาม พ.ร.บ.คุ้มครองฯมาตรา 121 หรือไม่
เรื่องต่อไปนี้ท่านมีความเข้าใจเพียงใด? สามารถนำมาใช้ในวิกฤตเศรษฐกิจในขณะนี้ได้หรือไม่
- มาตรการและแนวทางบรรเทาปัญหาการเลิกจ้างของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
- ยื่นข้อเรียกร้องเพื่อขอเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างกับลูกจ้างตามพ.ร.บ.แรงงาน สัมพันธ์มาตรา 13
- หยุดกิจการทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นการชั่วคราว ตามพ.ร.บ.คุ้มครองฯมาตรา 75
- ย้ายสถานประกอบกิจการไปตั้ง ณ สถานที่อื่น ตามพ.ร.บ.คุ้มครองฯมาตรา 120
- เลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุที่นายจ้างปรับปรุงหน่วยงาน กระบวนการผลิต การจำหน่าย หรือบริหาร ตามพ.ร.บ.คุ้มครองฯมาตรา 121
- นายจ้างปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงานตามมาตรา 124 ภายในระยะเวลาตามพ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯมาตรา 124/1 การดำเนินคดีอาญาต่อนายจ้าง
ให้เป็นอันระงับ
- ผู้กระทำความผิดได้ชำระเงินค่าปรับตามจำนวนที่เปรียบเทียบภายในสามสิบวัน แล้วให้ถือว่าคดีเลิก กันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ตามพ.ร.บ.
คุ้มครองแรงงาน ฯ มาตรา 159
กำหนดการสัมมนา
ระยะเวลา 1 วัน ( รวมอาหารว่าง 2 มื้อ อาหารกลางวัน และเอกสาร )
วิทยากร ท่านสุพจน์ ธำรงเวียงผึ้ง ( อดีตนิติกรศาลแรงงานกลาง,หัวหน้าคณะในศาลแรงงานกลาง,ปัจจุบันอธิบดีผู้ พิพากษาศาลแรงงานภาค 7 )
วันที่สัมมนา วันที่ 28 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 16.00 น. สนใจติดต่อ 02-7333911-2
สถานที่สัมมนา โรงแรมมารวย การ์เด้น
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.miracleconsultant.co.th
ยี่ห้อ: | - | รุ่น: | - |
สภาพ: | ใหม่ | ความสมบูรณ์: | 100% |
ราคา: | - | ต้องการ: | ประกาศ |
เลขบัตรประชาชน: | 130990003XXX | IP Address: | 124.120.13.76 |
ติดต่อ: | miraclecon | อีเมล์: | |
โทรศัพย์: | 02-7333911 | มือถือ: | 089-0225678 |
จังหวัด: | กรุงเทพมหานคร | ||
ที่อยู่: | - | ||
คำค้น: | หยุดงานมาตรา 75 | ปัญหาคุ้มครองแรงงาน | การเลิกจ้างพนักงานจำนวนมาก | ปัญหามาตรา75 | |